ค้นหา
หน้าหลัก
SEARCH
ฐานข้อมูลคำเรียกชื่ออาหารล้านนา
อาหารประจำธาตุ
หมวดอาหาร
การเรียกชื่ออาหารล้านนา
สรรพคุณของวัตถุดิบ
แหล่งข้อมูล (สัมภาษณ์)
ประวัตินักวิจัย
ดาวน์โหลดเอกสาร
องค์ความรู้
อัขรวิธีภาษาล้านนา
อักษรพิเศษในล้านนา
ภาษาล้านนาเชิงสนทนา
คำเรียกชื่ออาหารล้านนา
วรรณกรรมมุขปาฐะล้านนา
ประเภท
41
หมวดแกง
26
หมวดน้ำพริก
16
หมวดอาหารว่าง/ ของทานเล่น/ ขนม
15
หมวดยำ
9
หมวดตำ
9
หมวดคั่ว
8
หมวดนึ่ง
7
หมวดส้า
7
หมวดอุ๊ก
5
หมวดแอ็บ
4
หมวดต้ม
4
หมวดจอ
4
หมวดเจี๋ยว
4
หมวดอ่อม
3
หมวดจ่อม
3
หมวดลาบ
3
หมวดโสะ
2
หมวดหลู้
2
หมวดอ็อก
2
หมวดปิ้ง
2
หมวดจ่าว
1
หมวดจื๋น
1
หมวดหลาม
1
หมวดมอก
1
หมวดป่าม
จำนวน 3 รายการ
น้ำพริกน้ำผัก
หมวดน้ำพริก
เป็นน้ำพริกที่มีลักษณะข้นถึงขลุกขลิก คำว่า น้ำผัก หมายถึงอาหารที่ทำจากผักกาดเขียวแก่ทั้งต้นดองประมาณ ๒ วัน ให้มีรสเปรี้ยว นิยมรับประทานกับแคบหมูและผักขี้หูด มีส่วนผสมดังนี้ ผักกาดเขียว ข้าวนึ่ง น้ำซาวข้าว เกลือเม็ด พริกแห้ง กระเทียม มะแขว่น เกลือป่น ต้นหอม ผักชี
แกงผักกาดหน้อยใส่ถั่วฝักยาว/ ใส่ผักชีลาว
หมวดแกง
แกงผักกาดหน้อย หมายถึง ผักกาดอ่อนที่ใบขนาด ๒-๔ เซนติเมตร ใส่ถั่วฝักยาว ใส่ผักชีลาว หรือใส่ผักโขมแดงอ่อน ใส่ผักขี้หูดอย่างละนิดอย่างละหน่อยบางท้องถิ่นเรียกแกงชนิดนี้ว่า “แกงผักอะหยิอะเหยาะ” ซึ่งหมายถึง แกงผักหลากหลายชนิด (เฉพาะผักที่กล่าวมาอย่างละนิดอย่างละหน่อยนั่นเอง) แกงชนิดนี้อาจใส่ถั่วเน่า และปลาแห้ง หรือหัวปลาชะโดแห้งด้วยก็ได้
แกงผักขี้หูด (ผักเปิ๊ก) ใส่ปลาแห้ง
หมวดแกง
ผักขี้หูด หรือในเชียงใหม่เรียกว่าผักเปิ๊ก เป็นผักที่มีรสชาติเผ็ดนิดๆ ใช้กินสดแกล้มกับลาบ หรือยำต่างๆ ที่มีรสหวานอร่อย แต่จะเอามาทำแกงใส่ปลาแห้ง ใส่เห็ดลมอ่อนด้วยยิ่งอร่อย